เครือข่ายองค์กรภาคประชาชน ทรัพย์สินทางปัญญาและนวัตกรรมไทย ชุมชนวัฒนธรรมแห่งสันติสุข

 

 

ทรัพย์สินทางปัญญา

สิทธิบัตร
เครื่องหมายการค้า
ลิขสิทธิ์
นวัตกรรม
สิทธิบัตร

เครื่องหมายการค้า

ลิขสิทธิ์
 นวัตกรรม

สิทธิบัตร

 ครื่องหมายการค้า
ลิขสิทธิ์
นวัตกรรม
สิทธิบัตร
ครื่องหมายการค้า
ลิขสิทธิ์
นวัตกรรม
สิทธิบัตร
ครื่องหมายการค้า

 ลิขสิทธิ์

 
   

ข่าวรายวัน/news

คมชัดลึก

ผู้จัดการ 

ไทยรัฐ

  เดลินิวส์
ไทยโพสต์

the nation

people.com.cn/

 chinadaily.com.cn/

cctv online

 

สยามรัฐออนไลน์

tv online/ดูทีวีออนไลน์

 

 คมชัดลึก

ผู้จัดการ 

ไทยรัฐ

 เดลินิวส์
ไทยโพสต์

the nation

people.com.cn/

chinadaily.com.cn/

cctv online

 

หนังสือพิมพ์ทั่วไป....

 Timesonline

 

tv online 3,   5,  7,  9,  nbt,  tpbs 

cctvnews 

tcctvโทรทัศน์ไทยจีน

mono29

 百家讲坛


 

中華日報

新中原報

ตำนานสามก๊ก

อ่านตำนานสามก็ก

โปรแกรมแปลภาษา

แปลอังกฤษเป็นไทย 

โปรแกรมแปลไทยเป็นอังกฤษ

แปลอังกฤษ-จีน English-chinese translate

แปลจีนเป็นอังกฤษ          Mandarin-English translate

 


ดูรายชื่อเพลงล่าสุด 

papa menu



papa menu

ตรวจสอบเพลงซ้ำซ้อน

(download) 

ขออนุญาติใบ 

พรบ.ภาพยนต์และวีดีทัศน์

    

ตรวจสอบรายชื่อ

บริษัทจัดเก็บทั้งระบบ


    bluesky TV

Facebook/papakaraoke  


สมาพันธ์องค์กรผู้ใช้งานลิขสิทธิ์ไทยยื่นหนังสือ คสช  อ่านรายละเอียด........





                                                                                                                                                                                                                                                    

ทรัพย์สินทางปัญญา

ชุมชนบางบัวทอง

karaoke

สมาพันธ์คาราโอเกะแห่งประเทศไทย

The source of intelligence. The original of innovation.The community of Well-being and Peaceful.


 

ข้อมูลลิขสิทธิ์  2006  ตอนที่  2

 

สิทธิประโยชน์ของค่ายเพลงมี 3 ข้อหลัก
1 สิทธิ์ในการทำสำเนาหรือโฆษณา-จำหน่าย(duplication and publishing right)
2 สิทธิ์ในการอนุญาต(licensing right)ให้ใช้สิทธิ์เผยแพร่(เฉพาะสิทธิ์เผยแพร่สิ่งบันทึกเสียงที่ค่ายเพลงเป็นผู้ผลิต ในส่วนของสิทธิ์เผยแพร่ดนตรีกรรมขึ้นอยู่กับการทำสัญญากับครูเพลง)
3 สิทธิ์ในการให้เช่า(leasing right)

สิทธิ์ข้างเคียงมี 3 ประเภท
1 สิทธิ์ค่ายเพลง(publisher)ผู้ผลิตสิ่งบันทึกเสียง
2 สิทธิ์นักแสดง(performer)ผู้มีผลงานปรากฏในสิ่งบันทึกเสียง-โสตฯ
3 สิทธิ์สถานีกระจายเสียง-ภาพ(broadcastor)ที่นำผลงานออกเผยแพร่เช่นเมื่อผลงานปรากฏในช่องของสถานีใดก็จะมีโลโก้ของสถานีนั้นติดอยู่ด้วย เป็นต้น

(ในแต่ละส่วนของผู้ที่เกี่ยวข้องหากมีสิทธิ์ใดอยู่ก็ให้เข้าหลักเกณฑ์ตามที่ระบุในสนธิสัญญานานาชาติ เช่นค่ายเพลงอาจเป็นเจ้าของสิทธิ์อื่นใดเพิ่มเติมก็ได้รับผลประโยชน์ในส่วนนั้นๆเพิ่มขึ้น)

สิทธิ์เผยแพร่ (ตัวปัญหาของพวกเรา)
ในงานลิขสิทธิ์ทุกสิทธิ์ที่มีอยู่จะอยู่ในกระบวนการผลิตหรือการลงทุนของค่ายเพลงเป็นหลักซึ่งสิทธิ์เหล่านั้นจะไม่มีผลกระทบกับผู้ใช้งานเพลงเช่น สิทธิ์ทำซ้ำดัดแปลง สิทธิ์ในการจำหน่าย ให้เช่า ยกเว้นสิทธิ์เผยแพร่ต่อสาธารณะ

สิทธิ์เผยแพร่ต่อสาธารณะมีอยู่ 2 ส่วน
1 สิทธิ์เผยแพร่ดนตรีกรรม (เป็นของครูเพลงผู้สร้างสรรค์ งานดนตรีกรรมต้องมีทำนองเพลงหากไม่มีทำนอง(ตัวโน๊ต) หรือมีแค่คำร้องจะถือว่าเป็นงานวรรณกรรมไม่ใช่ดนตรีกรรม)
2 สิทธิ์เผยแพร่สิ่งบันทึกเสียง(เป็นของค่ายเพลง)

                     กล่าวคือเมื่อคุณเปิดเพลงฟังจะมีสิทธิ์เผยแพร่ทันที 2 สิทธิ์ที่จะเข้ามาเกี่ยวข้อง คือสิทธิ์ครูและสิทธิ์ค่าย เมื่อคุณนำเพลงมาเปิดเพื่อความบันเทิงส่วนตัวสิทธิ์เผยแพร่จะไม่มีส่วนเข้ามาเกี่ยวข้องกับคุณ
แต่หากคุณนำเพลงมาเปิดเพื่อการค้าหรือเข้าตามหลักเกณฑ์ พรบ.ลิขสิทธิ์ คุณต้องจ่ายค่าเผยแพร่ของสิทธิ์ครูและสิทธิ์ค่ายในเวลาเดียวกัน
(หากค่ายเพลงเป็นผู้จัดเก็บค่าสิทธิ์เผยแพร่ทั้งสองสิทธิ์ จะต้องเป็นเจ้าของสิทธิ์ทั้งสองในแผ่นที่ค่ายเพลงจำหน่ายทุกเพลงจึงจะไม่มีปัญหา)

              ได้มีคำกล่าวจากผู้ใหญ่ท่านหนึ่งของสมาคมนักแต่งเพลงแห่งประเทศไทยว่า “ตามหลักสากลค่ายเพลงไม่มีสิทธิ์จัดเก็บค่าลิขสิทธิ์โดยตรง การจัดเก็บจะต้องเป็นสิทธิ์ ขององค์กรเจ้าของลิขสิทธิ์เท่านั้น องค์กรค่ายเพลงจะเป็นผู้รับประโยชน์หลังจากการดำเนินการขององค์กรเจ้าของลิขสิทธิ์”
ความเห็นดังกล่าวสอดคล้องกับการกำหนดหลักการทางสากลว่าค่ายเพลงเป็นเพียงเจ้าของสิทธิ์ “ข้างเคียง” ไม่ใช้เจ้าของลิขสิทธิ์ที่ได้รับการคุ้มครองจากกฎหมายลิขสิทธิ์โดยตรง

           แล้วก็มาถึงคำถามที่ว่าที่ผ่านมากรมทรัพย์สินทางปัญญาดำเนินการบริหารการจัดเก็บเป็นไปทางแนวทางสากลหรือเปล่า หรือทำงานตามกระแสร์ของผลประโยชน์…………..
คำกล่าวอ้างที่ว่า งานสร้างสรรค์ลิขสิทธิ์ไม่มีรูปแบบคือคุ้มครองทันทีที่สร้างสรรค์โดยไม่มีการจดทะเบียน ที่กล่าวมาเป็นหลักการแต่ในทางปฏิบัติแล้วทุกประเทศที่เป็นสากลได้มีการขึ้นทะเบียนเจ้าของสิทธิ์และรวมจัดเก็บหนึ่งสิทธิ์ต่อหนึ่งองค์กร เช่นสิทธิ์ของครูเพลงก็ให้เก็บรวมเป็นองค์กรเดียว สิทธิ์ค่ายเพลงหรือสิทธิ์นักแสดงก็ให้เก็บรวมเป็นองค์กรเดียว และในส่วนของการซ้ำซ้อนกันของสิทธิ์ต่างๆก็ให้ไปอยู่ในกระบวนการของการบริหารในองค์กรนั้นๆก็จะสามารถแก้ปัญหาเพลงซ้ำซ้อนได้

ข้อมูลเพิ่มเติม
            องค์กรจัดเก็บทั่วโลกเป็นองค์กร NGO (non-governmental organization)หรือองค์กรที่เป็นภาคเอกชนที่ไม่มีการแทรกแซงจากภาครัฐฯ เช่น องค์กร CISAC มีสมาชิกทั่วโลก 109 ประเทศ สมาคมนักแต่งเพลง 210 สมาคม เจ้าของลิขสิทธิ์รวม 2.5 ล้านรายทั่วโลกมีสำนักงานใหญ่ที่ประเทศฝรั่งเศล ก่อตั้งเมื่อปี 1926 เป็นองค์กรที่ไม่แสวงหากำไร หมายถึงผู้ถือหุ้นเป็นเจ้าของสิทธิ์เองได้รับผลประโยชน์จากส่วนแบ่งในการจัดเก็บในฐานะเจ้าของสิทธิ์ แต่ไม่ได้เน้นผลกำไรจากการปันหุ้น เมื่อจัดเก็บมาแล้วหักค่าใช้จ่ายที่เหลือแบ่งปันให้กับเจ้าของสิทธิ์หรือสมาชิกฯ ดังเช่นในประเทศไทยก็มีบริษัทลิขสิทธิ์ดนตรีที่เป็นเครือข่ายขององค์กร CISAC ต่อมาได้มีบริษัทโฟโนไรท์ที่เป็นองค์กรของค่ายเพลงเข้ามาร่วมจัดเก็บกับบริษัทลิขสิทธิ์ดนตรี หรือ MCT&Phono right เป็นรูปแบบกิจการร่วมค้า(Joint venture) ลักษณะการดำเนินงานคือ จัดเก็บเป็นก้อนเดียวจากผู้ใช้งานเพลงสากลแล้วจึงมาแบ่งปันกันระหว่างองค์กรครูเพลงและองค์กรค่ายเพลงซึ่งเป็นเรื่องของรายละเอียดที่ค่อนข้างซับซ้อน
           สรุปแล้วองค์กรจัดเก็บที่มีอยู่ในปัจจุบันทั่วโลกเป็นองค์กรของเจ้าของลิขสิทธิ์ทั้งสิ้นคือจัดเก็บในนามสมาคมนักแต่งเพลงและผู้เรียบเรียงเสียงประสาน(author and composer) ในส่วนของเมืองไทยก็ต้องไปถามกรมทรัพย์ฯว่าท่านมีความเห็นว่าอย่างไร ที่สุดแล้วแนวทางในการแก้ไขกฎหมายลิขสิทธิ์ก็ต้องอิงไปทางสากลเพื่อที่จะสามารถเจรจาทางการค้ากับนานาอารยะประเทศเช่น FTA และ WTO

 

   ยังมีต่อ............                                                                                 พรชัย  ศิรินุกูลชร  16/10/49

   go back

 

##detail##


         

Copyright 2006, bangbuathong.org All rights reserved.